วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประกอบของหน้าต่างโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด คือส่วนต่าง ๆ ที่ปรากฎอยู่บนหน้าจอ
ทั้งส่วนที่แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับโปรแกรมและส่วนที่เรียกใช้งาน
แถบชื่อ (Title Bar : ไตเติ้ลบาร์)
เป็นแถบสีน้ำเงินอยู่บนสุดของหน้าต่าง ทางด้านซ้่ายประกอบด้วยสัญลักษณ์ของโปรแกรม (คอนโทรลเมนู) ชื่อแฟ้มข้อมูล
ที่กำลังเปิดใช้่งานอยู่ ชื่อโปรแกรม ส่วนด้านขวามือเป็นปุ่มควบคุมหน้าต่าง 3 ปุ่ม
ได้แก่ ปุ่มมินิไมซ์, ปุ่มรีสโตร์ ดาวน์ หรือ
ปุ่มแมกซิไมซ์ (ขึ้นอยู่กับสถานะของหน้าต่างขณะใช้งาน) และ ปุ่มปิดโปรแกรม
 
แถบคำสั่ง (Menu Bar : เมนูบาร์)
แถบที่สองรองจากไตเติ้ลบาร์ เป็นแถบที่ใช้แสดงรายชื่อคำสั่งต่าง ๆ เพื่อให้เราเลือกใช้สำหรับทำงานในโปรแกรมไมโครซอฟต์เวิร์ด  
 แถบเครื่องมือ (Toolbars : ทูลบาร์)
แถบที่มีรูปสัญลักษณ์แทนคำสั่งต่าง ๆ ที่เรียกใช้งานบ่อย ๆ ซึ่งแถบเครื่องมือหลักที่ใช้ประจำมี 3 ชนิด คือ
1. แถบเครื่องมือมาตรฐาน (
Standard toolbars : แสตนดาร์ดทูลบาร์) ประกอบด้วยปุ่มที่เกี่ยวข้องกับการจัดการแฟ้มข้อมูล
เช่น การสร้าง การเปิดแฟ้มข้อมูล การบันทึกแฟ้มข้อมูล การสำเนาข้อความ เป็นต้น
2. แถบเครื่องมือจัดรูปแบบ (
Formatting toolbars : ฟอร์แมตติ้งทูลบาร์) ประกอบด้วยปุ่มที่เกี่ยวข้องกับการจัดรูปแบบ
ให้กับตัวอักษร ข้อความ ย่อหน้า เช่น เปลี่ยนขนาดตัวอักษร ทำตัวเอียง ตัวหนา การจัดวางตัวอักษร เป็นต้น
 
3. แถบเครื่องมือรูปวาด (
Drawing toolbars : ดรอว์อิ้งทูลบาร์) ใช้สำหรับสร้่างและจัดการรูปวาด
การเรียกใช้แถบเครื่องมือสามารถเรียกได้ที่คำสั่งมุมมองบนเมนูบาร์ โดยการคลิกที่คำสั่งมุมมองและคลิกคำสั่งย่อย "แถบเครื่องมือ"
เลือกแถบเครื่องมือที่ต้องการให้แสดง จะปรากฎเครื่องหมาย
 √ หน้าชื่อเครื่องมือนั้น
ไม้บรรทัด (Ruler : รูเลอร์)
เป็นส่วนที่บอกขอบเขตพื้นที่ในการพิมพ์ ไม้บรรทัดจะมีเฉพาะด้านบนของหน้าจอ (ในมุมมองปกติ) แต่จะมีอยู่ที่ด้านบนและด้านซ้าย
ของหน้าจอ (ในมุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์)
ไม้บรรทัดด้านบน จะมีรูปสามเหลี่ยมเล็ก ๆ ที่ด้านซ้ายสุดและขวาสุด ใช้สำหรับย่อหน้าข้อความและปรับพื้นที่ในการพิมพ์ ตามลำดับ
การเรียกใช้ไม้บรรทัดสามารถเรียกได้ที่คำสั่งมุมมองบนเมนูบาร์ โดยการคลิกที่คำสั่งมุมมอง และคลิกที่คำสั่งย่อย "ไม้บรรทัด"
มุมมอง (View : วิว)
เป็นสัญลักษณ์รูปแบบพื้นที่ทำงานลักษณะต่าง ๆ อยู่ทางซ้ายมือของแถบเลื่อนแนวนอน ใช้เลือกรูปแบบของพื้นที่ทำงาน ได้แก่ มุมมองปกติ มุมมองเค้าโครงเว็บ มุมมองเค้าโครงเหมือนพิมพ์ มุมมองเค้าร่าง
และ มุมมองเค้าโครงการอ่าน
การเลือกมุมมองของพื้นที่ทำงาน สามารถเลือกได้ที่คำสั่งมุมมองบนเมนูบาร์ และที่สัญลักษณ์คำสั่งมุมมอง
  แถบเลื่อน (Scroll Bar : ซโครลบาร์)
เป็นแถบใช้เลื่อนดูข้อความที่ซ่อนอยู่ในหน้าต่าง ด้านบน ด้านล่าง ด้านซ้าย และด้านขวา แถบเลื่อนจะปรากฎอยู่ที่ด้านขวาและด้านล่างของหน้าจอ แถบเลื่อนมีลักษณะการใช้งานตามตำแหน่งที่อยู่ดังนี้
·         แถบเลื่อนแนวนอน ใช้่เมื่อต้องการเลื่อนดูข้อความที่ซ่อนอยู่ทางซ้ายหรือทางขวาของหน้าจอ
·         แถบเลื่อนแนวตั้ง ใช้่เมื่อต้องการเลื่อนดูข้อความที่ซ่อนอยู่ด้านบนหรือด้านล่างของหน้าจอ
  แถบสถานะ (Status Bar : ซเททัซบาร์)
เป็นแถบที่อยู่เหนือปุ่ม Start ใช้บอกเลขหน้า เลขส่วน เลขหน้าต่อจำนวนหน้าทั้งหมด บรรทัด คอลัมน์ และภาษาที่ใช้
ในการทำงานขณะนั้น ดังนี้
·         เลขหน้า  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่หน้าใด
·         เลขตอน  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่ตอนใดของเอกสาร
·         เลขหน้า/จำนวนหน้า  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่หน้าใดของจำนวนหน้าทั้งหมด
·         ตำแหน่งการพิมพ์  บอกให้รู้ว่าการพิมพ์อยู่ที่ตำแหน่งใดจากส่วนบนของเอกสาร
·         บรรทัด  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่บรรทัดใด
·         คอลัมน์  บอกให้รู้ว่าตำแหน่งการพิมพ์อยู่ที่คอลัมน์ใด
·         ภาษา  บอกให้รู้ว่ากำลังทำงานด้วยภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ  
  มินิไมซ์ (Minimize : มินิไมซ์) 
เป็นปุ่มแรกสุด อยู่ที่มุมขวาบนของหน้าจอ ใช้สำหรับย่อขนาดของหน้าต่างให้หายไปจากจอภาพ ให้เป็นแถบเล็ก ๆ
บนทาสก์บาร์ (แถบที่มีปุ่ม
Start)
  รีสโตร์ ดาวน์ (Restore Down : รีสโตร์ ดาวน์)
เป็นปุ่มที่สอง อยู่ที่มุมขวาบนของหน้าจอ ใช้สำหรับย่อหน้าต่างให้มีขนาดเท่าเดิม (ก่อนขยาย)
  ปิด (Close : คโลส)
เป็นปุ่มสีแดง อยู่ที่มุมขวาบนของหน้าจอ ใช้สำหรับปิดโปรแกรม

วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2554

แบบทดสอบก่อนสอบปลายภาค

1. หน้าที่ของคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องในระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะสำคัญได้ 2 ประเภทประเภทที่มีสิทธิเท่าเทียมกันเรียกว่าอย่างไร
2. อะไรต่อไปนี้ไม่ใช่องค์ประกอบของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
3. ระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์คืออะไร
4. การเขียนFlowchart ที่งานที่สุดในทั้ง 3รุปแบบแล้วแบบที่เรียกว่า Loop Structureแล้วแยกได้อีก2แบบแบบไหนที่ต้องดูเงื่อนไขก่อนแล้วจึงดำเนินการ
5. การเขียนFlowchart ที่งานที่สุดในทั้ง 3รุปแบบแล้วแบบที่เรียกว่า Loop Structureแล้วแยกได้อีก2แบบแบบไหนที่ต้องดูคำสั่งก่อนแล้วจึงดำเนินการตามเงื่อนไข
6. LAN เป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันอย่าง
7. ข้อใดคือเทคโนโลยีรักษาความปลอดภัย
8. อินเตอร์เน็ทมีแหล่งกำเนิดมาจากที่ใดในโลก
9. การใช้คอมพิวเตอร์ในที่ห่างไกลเรานิยมเรียกว่าอย่างไรธ
10. หลักเกณฑ์ทั่วไปของการเขียนผังานต้องเริ่มต้นด้วยการทำงานแบบใดการ
11. ข้อใดไม่ได้จัดอยู่ในชนิดของFirewallที่นักเรียนศึกษา
12. การทำงานของFlowchart แบ่งเป็นสองประเภทคืออะไรบ้าง
13. การ์ดแลนคืออุปกรณ์ที่ใช้ทำหน้าที่อะไร
14. เครือข่ายอินเตอร์เน็ทเป็นคำผสมระหว่างคำว่าIntercomnectiondy
15. การเขียนFlowchart ที่งานที่สุดในทั้ง 3รุปแบบคือแบบใด
16. ข้อจำกัดข้องการเขียนผังงานคือข้อใด
17. หน่วยมาตราฐานที่รวบรวมและกำหนอมาตราฐานสัญลักษณ์ของการเขียน Flowchart คือที่ใด
18. สื่อกลางในการส่งข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์คือข้อใด
19. ข้อใดคือความสำคัญของระบบเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์ที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด
20. หน่วยมาตราฐานที่รวบรวมและกำหนอมาตราฐานสัญลักษณ์ของการเขียนFlowchartคือที่ใด
21. การโอนย้ายข้อมูลระหว่างกันบนระบบเครือข่ายเราเรียกว่าอย่างไร
22. ผังงานคืออะไร
23. IP address ในระบบเครือข่ายมีความสำคัญอย่างไร
24. การเขียนแผนผังที่ถูต้องควมีลักษณะการเขียนอย่างไร
25. WAN เป็นระบบเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันอย่างไร
26. Proxy Server คืออะไร
27. คำว่า จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เรียกอีกอย่างว่าอะไร?
28. File ข้อมูลนามสกุล .doc สามารถเปิดดูจากโปรแกรมใดได้
29. โปรแกรมปฎิบัติการที่นิยมใช้ในการทำระบบเครือข่ายคือโปรแกรมใด
30. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ได้เป็นการเข้าโจมตีเครือข่าย

วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554

สอบซ่อมกลางภาค

ซ่อมกลางภาค

คำถามบทที่1
1)อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สำคัญมีอะไรบ้าง?
ตอบ 1.1กล่องซีพียู 1.2แป้นพิมพ์ 1.3เมาส์ 1.4จอภาพ 1.5ลำโพง

2)ระบบคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยองค์ประกอบ4ประการได้แก่?
ตอบ 2.1ฮาร์ดแวร์ 2.2ซแฟแวร์ 2.3พีเพิลแวร์ 2.4ข้อมูล

3)ประเภทคอมพิวเตอร์แบ่งได้กี่แบบ?
ตอบ 3.1แบ่งตามขนาด 3.2แบ่งตามลักาณะข้อมูล 3.3แบ่งตามวัสถุประสงค์การใช้

4)แบ่งตามขนาดคือ?
ตอบ แบ่งตามความสามารถในการทำงานของคอมพิวเตอร์

5)แบ่งตามลักษณะข้อมูลคือ?
ตอบ การแบ่งประเภทข้อมูลที่รับเข้าสู่การประมวลผลคอมพิวเตอร์

6)แบ่งตามวัสถุประสงค์การใช้คือ?
ตอบ การแบ่งประเภทคอมพิวเตอร์ตามวัสถุประสงค์ที่สรางขึ้นมาและการนำมาประยุกย์ใช้

7)แบ่งตามขนาดแบ่ง4ประเภทคือ?
ตอบ 7.1ไมดครคอมพิวเตอร์ 7.2มินิคอมพิวเตอร์ 7.3เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ 7.4ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์

8)แบ่งตามลักษระข้อมูลแบ่งได้3ประเภทคือ?
ตอบ 8.1อนาลอกคอมพิวเตอร์ 8.2ดิจิตอลคอมพิวเตอร์ 8.3ไฮบริคคอมพิวเตอร์

9)ไมโครคอมพิวเตอร์คืออะไร
ตอบ คอมพิวเตอร์พกพาหรือ notebook

10)มินิคอมพิวเตอร์ คืออะไร
ตอบ คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่มีความเร็วในการประมวลผล

คำถามบทที่2
1)การทำงานคอมพิวเตอร์เริ่มจากอะไร
ตอบ เริ่มจากการป้อนข้อมูล เข้าทางหน่วยป้อนข้อมูล

2)input unit คืออะไร
ตอบ หน่วยรับข้อมูล

3)หน่วยประมวลผลข้อมูลคือ
ตอบ CPU

4)Memory unit คืออะไร
ตอบ หน่วยความจำ

5)Output unit คืออะไร
ตอบ หน่วยแสดงผล

6)ขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์มีกี่ขั้นตอน?
ตอบ 3ขั้นตอน

7)ขั้นตอนของคอมพิวเตอร์มี3ขั้นตอนอะไรบ้าง?
ตอบ รับข้อมูล ประมวลผลข้อมูล แสดงผลข้อมูล

8)processคืออะไร
ตอบ การประมวลผลข้อมูล

9)การแสดงผลข้อมูลมีอุกรณ์ต่อพ่วงอะไรบ้าง
ตอบ จอภาพ monitor

10)คีย์บอร์ดมีหน้าที่อะไร
ตอบ ป้อนข้อมูล

คำถามบทที่3
1)DOS คืออะไร
ตอบ ระบบปฎิบัติการ

2)คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นอะไร?
ตอบ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางในการติดต่อกับฮาร์ดแวร์ของเครื่องโดยตรง

3)โปรแกรมไอไอเอส (IIS) เป็นโปรแกรมที่อยู่บนระบบปฏิบัติการในข้อใด
ตอบ ได้ทุกระบบปฎิบัติการ

4)เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ให้บริการสำหรับเก็บเอกสารเว็บเพจและนำเสนอข้อมูลเอกสารเว็บเพจมีชื่อเรียกว่าอะไร
ตอบ เว็บเซอร์เวอร์

5) โปรแกรมไอไอเอส (IIS)ทำหน้าที่?
ตอบ ทำหน้าที่เป็นเครื่องให้บริการ โปรแกรมใดที่ต้องทำการติดตั้งเพิ่มเติมสำหรับให้เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้นให้บริการทางด้านเครื่องเว็บเซอร์

6)แฟ้มข้อมูลในข้อใดไม่นิยมใช้เป็นชื่อแฟ้มข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์?
ตอบ None.html
7)เว็บไซต์ที่ให้บริการฟรีทางด้านให้พื้นที่ในการเก็บข้อมูลมีชื่อเรียกคืออะไร?
ตอบ Free Web Hosting
8)เมื่อทำการติดตั้งโปรแกรมที่ทำหน้าที่เป็นเว็บเซอร์เวอร์เรียบร้อยแล้ว หากต้องการทดสอบว่าใช้งานได้หรือไม่จากเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนั้น จะต้องใช้ URL ?
ตอบ http: / / localhost
9)ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่ให้บริการทางด้านพื้นที่สำหรับการเก็บคืออะไร?
ตอบ มีการบริการให้คำแนะนำและช่วยเหลือปัญหาที่เกิดขึ้นต่างๆ เป็นอย่างดี

10)  ประเภทของระบบปฏิบัติการตามลักษณะการทำงานมีกี่ประเภท?
ตอบ 3ประเภท

คำถามบทที่4
1)หน้าต่างwindowsมีชื่อเรียกส่วนประกอบต่างๆคือ
ตอบ เดสก์ท็อป ไอคอน ถังขยะ ทาสก์บาร์ ซิสเต็มเทรย์ ทูลสทิป ปุ่มสตาร์ท

2)เดสก์ท็อปคืออะไร
ตอบ พื้นที่หน้าจอเมื่อเริ่มต้นเข้าสู่โปรเเกรม

3)ไอคอนคืออะไร
ตอบ สัญลักษณ์หรือรูปที่ใช้แทนโปรแกรม

4)ถังขยะคืออะไร
ตอบ โฟลเดอร์ที่เก็บไฟล์ที่เราทิ้ง

5)ทาสก์บาร์คืออะไร
ตอบ แถบงาน

6)ซิสเต็ม เทรย์ คืออะไร
ตอบ ใช้แสดงเวลา

7)ทูลสทิป คืออะไร
ตอบ เมื่อเราเลื่อนเมาส์ไปยังไอคอนใดมันจะขึ้นกรอบสีเหลืองนั้นเรียกว่าทูลสทิป

8)ปุ่มสตาร์ท คืออะไร
ตอบ จุดเริ่มต้นของโปรแกรมต่างๆ

9)สกรีนเซฟเวอร์ คืออะไร
ตอบ เป็นโปรแกรมสำหรับพักหน้าจอ

10)การออกจากWINDOWS คือ
ตอบ การ Restart หรือ stand By

คำถามบทที่5
1)Change the name คืออะไร
ตอบ เปลี่ยนชื่อผู้ใช้

2)Chang the passwordคืออะไร
ตอบ เปลี่ยนรหัสผุ้ใช้

3)Remove the password คืออะไร
ตอบ ย้ายหรือลบรหัสผู้ใช้

4)Change the picture คืออะไร
ตอบ เปลี่ยนภาพผู้ใช้

5)Change the account type คืออะไร
ตอบ เปลี่ยนชนิดของผู้ใช้

6)Delete the account คืออะไร
ตอบ ลบผู้ใช้

7)ผู้ใช้ในระดับใดที่สามารถ Log On  เข้าไปสร้าง User Account ได้
ตอบ Adminstrator
8)ผู้ใช้ในระดับใดสามารถเปิดและปิดการใช้งานผู้ระดับ Guest ได้
ตอบ Administrator
9)ข้อใดถูกต้อง 
ตอบ Guest เปิดการใช้งานตัว้องได้
10)ข้อความที่ปรากฎว่า " Do you want to keep you's files ? " เป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนใด
ตอบ การลบผู้ใช้
คำถามบทที่6
1.คำสั่งใดที่ใช้ในการเปลี่ยนชื่อไฟล์ โฟลเดอร์
ตอบ Rename
2.คำสั่งใดที่ใช้ในการลบไฟล์หรือโฟลเดอร์
ตอบ Delete
3.การจัดเรียงไฟล์และโฟลเดอร์แบบ Show in Group  เป็นการจัดเรียงแบบใด
ตอบ เรียงตามกลุ่มตัวอักษรแรกของชื่อ
4.การจัดเรียงไฟล์และโฟลเอดร์แบบ Size เป็นการจัดเรียงแบบใด
ตอบ เรียงตามขนาดความจุของไฟล์หรือโฟลเดอร์
5.เมื่อไฟล์หรือฟลเดอร์ถูกลบทิ้งจะย้ายไปอยู่ที่ใด
ตอบ ถังขยะ
6.ข้อใดถูกต้อง
ตอบ ไฟล์ที่อยู่ในถังยะสามารถกู้คืนได้
7.การเรียกดูคุณสมบัติของโฟลเดอร์ใช้คำสั่งใด
ตอบ Search
8.Read-only คือคุรสมบัติแบบใดของโฟลเดอร์
ตอบ ไม่มีข้อใดถูก
9.Hidden คือคุณสมบัติแบบใดของโฟลเดอร์
ตอบ เขียนโฟลเดอร์นี้ได้
10.การค้นหาไฟล์หรือโฟลเดอร์ใช้โปรแกรม
ตอบ Help and Support

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

                                                           บทที่1
1.บุคลากรในข้อใดมีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์มากที่สุด

ตอบ   นักวิเคราะห์ระบบ

2. ข้อใดคือยูติลิตี้โปรแกรม

ตอบ wimzip

3. ข้อใดถือว่าเป็นองค์ประกอบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการป้อนข้อมูลเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์

ตอบ แป้นพิมพ์

4. ข้อใดไม่ใช่ซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์

ตอบ games

5. ในกรณีที่ต้องการต่อสายเมาส์ต้องต่อเข้ากับอุปกรณ์ใด

ตอบ เมนบอร์ด

6. ข้อใดไม่ใช่หน่วยความจำสำรอง

ตอบ รอม

7. คอมพิวเตอร์ประเภทใดที่น่าจะนำไปใช้มากที่สุด

ตอบ อนาลอกคอมพิวเตอร์

8. ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์

ตอบ ซุปเปอร์แวร์

9. องค์ประกอบคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในการแสดงผลคือข้อใด

ตอบ จอภาพ

10. ซอฟต์แวร์ที่เป็นภาษาของคอมพิวเตอร์คือข้อใด

ตอบ basic

                                                      บทที่2

1. ข้อใดคืออุปกรณ์ด้านอินพุทยูนิต

ตอบ เมาส์

2. หน่วยประมวลผลกลางคือข้อใด

ตอบ ซีพียู

3. ข้อใดไม่ใช่อุปกรณ์ต่อพ่วง

ตอบ เมนบอร์ด

4. เครื่องพิมพ์ที่ใช้หลักการฉีดพ่นหมึกคือข้อใด

ตอบ อิงค์เจต

5. การที่ให้ปากาเคลื่อนที่ไปมาบนแกนโลหะเพื่อวาดภาพลงบนกระดาษเป็นหลักการของอุปกรณ์ชนิดใด

ตอบ flatbed plotter

6. อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่อ่านรหัสข้อมูลที่ติดบนสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ คืออุปกรณ์ใด

ตอบ barcodr reader

7. หน่วยความจำภายในกล้องดิจิตอลสามารถเก็บภาพได้ประมาณกี่ภาพ

ตอบ 20

8. ข้อใดไม่ใช่สื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูล

ตอบ รอม

9. สื่อบันทึกข้อมูลที่มีความจุมากกว่า4.7 GBคือข้อใด

ตอบ ดีวีดีรอม

10. ข้อใดคือคูณสมบัติของแฮนดี้ไดร์ฟ

ตอบ พกพาสะดวกจุข้อมูลมาก

                                                 บทที่3

1. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของโปรแกรมระบบปฎิบัติการ

ตอบ จำข้อมูลช่วงที่มีการป้อนไฟ

2. ข้อดีของระบบปฎิบัติการ DOS คือข้อใด

ตอบ ทำงานในโหมดตัวอักษร

3. ข้อเสียของระบบปฎิบัติการวินโดวส์95 คือข้อใด

ตอบ ต้องสั่งงานโดยใช้เมาส์

4. วินโดวส์95 ต่างจากวินโดวส์98 อย่างไร

ตอบ ใช้ทรัพยากรมากกว่า dos

5. ระบบปฎิบัติการใดน่าจะมีความเหมาะสมในยุคปัจจุบัน (พ.ศ. 2547) มากที่สุด

ตอบ windowsXP

6.  ระบบปฎิบัติการที่เหมาะสมกับคอมพิวเตอร์เมนเฟรมและการติดต่อสื่อสารระยะไกลคือข้อใด

ตอบ Unix

7. ระบบปฎิบัติการประเภท open source คือข้อใด

ตอบ Linux

8. ระบบปฎิบัติการใดเหมาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ sun

ตอบ solaris

9. ระบบปฎิบัติการที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้กับคอมพิวเตอร์แบบพกพาคือข้อใด



วันอาทิตย์ที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

การติดตั้งโปรแกรม Avira AntiVir พร้อมการตั้งค่าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

    การติดตั้งโปรแกรม Avira AntiVir พร้อมการตั้งค่าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด

    การติดตั้งโปรแกรม Avira Antivir พร้อมการตั้งค่าให้มีประสิทธิภาพสูงสุด
    ดาวร์โหลดโปรแกรม Free antivirus - Avira AntiVir
    เริ่มต้นด้วยการเข้าไปที่เว็บไซต์ www.free-av.com จากนั้นให้เรามองหาเมนู DOWNLOAD ทำการคลิ๊กเข้าไปเลย พยายามมองหา Avira AntiVir Personal - FREE Antivirus แล้วกดที่ปุ่ม Download พอกดเข้ามาแล้วมองหา Recommended Download แล้วกดปุ่มดาวร์โหลด > รอสักครู่ แล้วให้กดที่ลิ้งค์ Download Now ไฟล์ขนาด 32 ก็จะโชว์ให้เรา Save
    วิธีการติดตั้งโปรแกรมร่มแดง หรือ Avira Antivir
    คลิ๊กที่โปรแกรมที่เราโหลดมา จากนั้นเหมือนกันลงแบบปกติครับ Next + Ok ไปเรื่อยๆ (หากลงไม่ได้มันจะให้ Restart 1รอบนะครับ) พอคลิ๊กไปเรื่อยๆ มันจะให้เรา Update อย่าลืมต่อเน็ตด้วยนะครับ อาจจะนานหน่อย ให้ตั้งใจรอสักนิด
    การตั้งค่าการใช้งานโปรแกรมต่อต้านไวรัสร่มแดง
    พอมันอัพเดตเสร็จแล้ว มันอาจจะสแกนอัตโนมัติให้เราทำการกด ยกเลิกไปได้เลยครับ แล้วทำตามวิธีดังนี้ ให้เราทำการดับเบิ้ลคลิกที่ร่มแดงทางมุมขวาล่างของหน้าจอ Desktop > คลิ๊ก Configuration > ติ๊กถูก Expert mode >กด scanner ให้ยืดออกมา > กด scan ให้ยืดออกมา > ทางขวาเลือก high ตรง scanner priority > คลิ๊ก action for concerning เลือก automatic > primary action เลือก delete ทางซ้าย กด heuristic > ทางขวา เลือก high...
    ทางซ้าย กด guard ให้ยืดออกมา > กด scan ให้ยืดออกมา แล้วไปที่ heuristic ทางขวาเลือก high detection level > กด ok เป็นอันเรียบร้อย
    วิธีการสแกนไวรัสที่ถูกต้องสำหรับ Avira Antivir
    ให้ดับเบิ้ลคลิ๊กที่มุมขวาล่างของจอที่ร่มแดง > กด scan system now > ทำการรอและห้ามใช้โปรแกรมอื่นใดระหว่างการสแกนครั้งแรกครับ ประมาณเปิดเครื่องทิ้งไว้เลย จนกว่าจะสแกนจบ > พอขึ้น 100% ถือว่าสแกนจบแล้วให้ Restart เครื่องใหม่เป็นอันเสร็จสิ้นครับ
    Categories: News Blog Community

    54 comments

    Comment from: chaichana [Visitor]
    ร่มแดงยอดเยี่ยม
    27/10/2009 @ 23:10
    Comment from: Pramote [Visitor]
    ทำไมเวลาที่เราใช้โปรแกรมร่มแดง สแกนไวรัส เมื่อโปรแกรมตรวจเจอไวรัส โปรแกรมถึงไม่ดำเนินการใดๆกับไวรัสล่ะครับ

    ทำไมจะต้องคอยมีเสียงเตือนอยู่บ่อยๆ อย่างผมดาวน์โหลดโปรแกรมร่มแดงมา ติดตั้งเสร็จเรียบร้อย พอลองปิดเครื่องแล้วเปิดใหม่กลับมีเสียงไวรัสเตือน เปิดใช้ ie7เพื่อจะใช้เน็ต ก็มีเสียงไวรัสเตือน ก็ถ้ามีไวรัสอยู่ในเครื่องผมว่ามันน่าจะกำจัดออกไปจากเครื่องแทนนะครับ เมื่อวานลองสแกนไวรัสดูตามที่แนะนำมา ผลปรากฏว่าสแกนไปได้แค่ 52% หน้าต่างที่กำลังสแกนอยู่กับหายไปเฉยๆ แต่ว่าที่ทาสบาร์ยังคงมีอยู่พอลองคลิกดูมันก็หายไปเลย ผมเลยลองรีสตาร์ทเครื่องดูพอเปิดมาที่หน้า desktop จากแต่เดิมที่เคยมีเสียงไวรัสเตือนกลับไม่เตือนครับคราวนี้ พอลองเปิด ie7 ดูก็ไม่มีเสียงเตือนอีก ไม่ทราบว่าเป็นที่อะไรหรือเปล่าครับ ในการสแกนมีการแจ้งเตือนอยู่หลายตัวเหมือนกัน ผมถึงสงสัยมากๆว่าถ้าสแกนเจอทำไมโปรแกรม ร่มแดง ถึงไม่ยอมกำจัดไวรัส หรือ สแปม ออกไปจากเครื่องล่ะครับ เมื่อก่อนตอนที่ยังไม่ได้ถอดตัวเก่าออกเวลาใช้งานอินเตอร์เน็ต มันจะอัพเดตเองใช่มั้ยครับเพราะจะเห็นมีหน้าต่างเล็กปรากฏอยู่ที่ด้านบนของจอ พอกำลังอัพเดตอยู่ซักพักก็จะมีหน้าต่างเข้ามาอีกอย่างเพื่อที่จะให้ซื้อลิขสิทธิ์ครับ แต่ว่าพอหลังจากถอดตัวเก่าออกแล้วลงตัวใหม่ ทำไมมันถึงไม่อัพเดตให้เห็นล่ะครับ แต่ว่ามีหน้าต่างเกี่ยวกับการซื้อลิขสิทธิ์เข้ามาเหมือนเดิมนะครับ แล้วที่มุมขวาของจอก็มีข้อความปรากฏมาเป็นภาษาอังกฤษลองแปลๆดูก็พอจะจับใจความได้ว่ามีการอัพเดตเสร็จเรียบร้อยแล้ว อยากทราบว่าทำไมถึงไม่เหมือนตัวเก่าที่ยังไม่ได้ถอดออกไปจากเครื่องล่ะครับ กับคำถามอีกคำถามนึงครับระหว่างการติดตั้งจะมีให้เราเลือกระหว่าง complete กับ custom ควรจะเลือกอะไรดีครับ ผมไม่รู้จะเลือกอะไรดีก็เลยเลือกส่งเดชไปเลยล่ะครับ ผมเลือก complete ครับ ถ้าจำไม่ผิดนะครับ จากปัญหาที่ผมสงสัยมาช่วยตอบผมด้วยนะครับ ...
    28/12/2009 @ 08:04
    Comment from: Help @ Blogtika [Member] Email
    *****
    ขอทำความเข้าใจสีกนิดนะครับ ว่าการลง Antivir จะสมบูรณ์หรือ ไม่สมบูรณ์ ขึ้นกับเวลาที่เราลงดังนี้

    1. สมบูรณ์คือ ลงวินโดว์เสร็จ แล้วลง Antivir
    2. เกือบสมบูรณ์คือ ลง antivir ก่อนติดไวรัส
    3. ลงไม่สมบูรณ์คือ ลง antivir หลังติดไวรัส

    ถ้าลงตามแบบ 1 และ 2 โอกาสที่โปรแกรมจะทำงานได้สมบูรณ์ อาจจะ100% แต่ถ้าโดนไวรัสก่อนแล้วค่อยลง นั้นอาจจะมีอาการเพี้ยนๆเกิดขึ้น ยกตัวอย่างเช่น

    ไวรัสมันไปลบ File ในระบบหายไปแล้ว ถึงเราลง antivir หรือป้องกันไวรัสตัวไหน มันก็ทำให้ปกติไม่ได้ครับ บางครั้ง (ที่บอกว่าเมื่อก่อนไม่เป็น) จริงๆแล้วมันอาจจะวิ่งอยู่ในระบบ ขณะที่คุณใช้โปรแกรมอย่างปกติ พอลงโปรแกรมตัวใหม่เข้าไป มันก็ไม่สมบูรณ์เพราะระบบมันเสีย ต่อให้ล้างสะอาดขนาดไหน ก็เรียกระบบคืนมาไม่ได้ครับ
    29/12/2009 @ 22:54
    Comment from: Help @ Blogtika [Member] Email
    *****
    อธิบายเรื่องระบบการทำงานของ antivir

    1.เมื่อลงโปรแกรมเสร็นใหม่ๆ antivir จะทำการอัพเดตให้ระบบเป็นระบบล่าสุด ซึ่งอาจจะช้าบ้าง

    2.เมื่ออัพเดตเสร็จ มันจะทำการสแกนระบบทั้งหมดให้ 1 รอบ ซึ่งเป็นการสแกนที่สำคัญมากๆ สรุปคือ เมื่อมันสแกนให้ปล่อยทิ้งไว้เลย จนครบ 100%

    3.ทุกๆวัน อาจจะทุกๆชั่วโมง ระบบจะทำการอัพเดตระบบให้ โดยจะมี Pop-up โฆษณาขึ้นมา เราเพียงแต่กด ok เท่านั่น ซึ่งมันอาจจะนานหน่อยเพราะต้องเชื่อมกับระบบหลัก แต่บางครั้งเร็วสุดๆ

    4.เราต้องหมั่นสแกนระบบด้วยตัวเองบ้าง เป็นการเลือกสแกนระบบเอง เลือกจุดที่สแกนเอง เพื่อให้เครื่องเราปลอดภัย
    29/12/2009 @ 23:01
    Comment from: Help @ Blogtika [Member] Email
    *****
    ขอแนะนำโปรแกรมที่ควรจะต้องลงก่อนลง Antivir โดยขอแนะนำจากประสบการณ์ ให้ลงตามลำดับดังนี้

    1. CCleaner เพื่อล้างไฟล์ขยะในเครื่อง
    2. Google Toolbar ป้องกันสแปมจากการใช้ IE6,7,8
    3. Antivir โหลดตัวใหม่สุด ลบตัวเก่า แล้วลงตัวใหม่

    วิธีการติดตั่ง โปรแกรม nod

    วิธีการติดตั้ง Nod32 V.4

    ป้องกันไวรัส กับ NOD32 4.0.68 BETA + วิธีอัพเดทและติดตั้งด้านใน ESET NOD32 Antivirus 4.0.68 BETA :โปรแกรมป้องกันไวรัสแบบ Real-Time NOD32… ซึ่งได้รับความนิยม ซึ่งอาจจะเป็นเพราะตัวซอฟแวเองมีขนาดเล็ก และ ไม่กินแรงเครื่อง และยังป้แงกันไวรัสแบบ Real-Time ป้องกันไวรัส หนอน ม้าโทรจัน สปายแวร์ และอื่่นๆ ในเครื่องคุณ หากว่าซ้ำยังงัยก็ขออภัยด้วยนะครับ

    วิธีการติดตั้ง ESET NOD32 Antivirus 4.0.68 32

    1.ดับเบิ้ลคลิกที่ไฟล์ eav_nt32_enu.
    2.คลิก Next


    3.เลือก I accept ...... คลิก Next



    4.เลือก Typical... คลิก Next


    5. คลิก Next


    6.เลือก Enable detection คลิก Next



    7.คลิก Install




    8.คลิก Finsh



    ** หลังจากนั้นรอโปรแกรมทำงาน สัก 1 - 2 นาที มันจะอัพเดทฐานข้อมูล

    Download
    http://kitt.kvc.ac.th/download/nod32v4.0.314.rar

    วันอังคารที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

    วิธีการติดตั้ง printer และการ share printer

    วิธีการติดตั้ง printer และการ share printer

    บทความนี้ป๋มขอแบ่ง เป็น 2 ส่วน ดังนี้
    ส่วนที่ 1 เครื่อง Server (เครื่องแม่)เป็นเครื่องที่ต้องต่อกับ Printer โดยตรง  ซึ่งผมขอตั้งเป็น ชื่อ Server01 (ผมสมมุติขึ้นไม่ต้องตั้งตามก็ได้)
    ส่วนที่ 2 เครื่อง Client  (เครื่องลูก)
    **** หมายเหตุ ผมขอใช้เป็น เครื่อง server เนี่ยะหมายถึงเครื่องที่ต่อ กับ Printer นะครับไม่ได้หมายความว่าคุณจะต้องซื้อเครื่อง Server

    เรามาเริ่มกันเลยดีกว่านะครับ ในส่วนที่ 1 เครื่อง Server (เครื่องแม่)
    1.1 การ ติดตั้ง Printer
    ก่อน อื่นเราจะต้องทำการติดตั้งเครื่อง Printer เสียก่อน บางท่านการติดตั้งเครื่อง Printer นั้นเป็นเรื่องง่าย  แต่ผู้คนบางกลุ่ม อาจจะไม่เคยติดตั้ง Printer เลย ดังนั้นผมจึงขอเสนอ ตั้งแต่เริ่มต้นทำการการติดตั้ง Printer
    วิธีการติดตั้ง Printer
    1.1.1 ให้คุณไปที่ Start >>> Setting >>> Printer and Faxes


    1.1.2 เลือก Add Printer
    1.1.3 คลิ๊ก Next

    1.1.4 เลือกไปที่ Local printer attached this computer และเอาเครื่องหมายถูก ที่ Automatic detect and install my Plug and Play Printer ออก  จากนั้น คลิก Next
    1.1.5 ในช่อง Use the following port เราสามารถเปลี่ยนเป็น port ที่เราต้องการได้ ในที่นี้ผมไม่เปลี่ยนนะครับ เลยจะได้เป็น LPT1 เหมือนในรูป จากนั้นคลิ๊ก Next นะครับ
    1.1.6 ขั้นต่อมาจะเป็นการติดตั้ง Driver ให้กับเครื่อง Printer นะครับ ให้เราเลือกไปที่ Have Disk เพื่อทำการเลือก Driver ให้กับ Printer


    1.1.7 เลือก ที่ Browse เพื่อหา Driver ให้กับเครื่อง Printer ซึ่งขึ้นอยู่กับของแต่ละคนว่าอยู่ที่ไหน แต่ส่วนมากจะอยู่ที่ Dive CD Rom ดังนั้น ให้ทำการ Browse ไปที่ Drive Cd Rom นะครับ


    1.1.8  เมื่อเจอ Driver แล้ว ทำการ คลิก Next ได้เลยนะครับ

    1.1.9 ตรง Printer Name เราสามารถเปลี่ยนชื่อได้ตามที่ต้องการนะครับ เมื่อได้ชื่อที่ต้องการ ให้ คลิก Next


    1.2 การ Share Printer
    1.2.1 หลังจากที่เราทำมาจนถึง ข้อ 1.1.9  ก็จะมาถึงหน้าที่ เราจะต้องทำการ Share Printer แล้วละครับ
    ให้เราตั้งชื่อ เครื่อง Printer ที่เราต้องการ จะ Share ในช่อง Share Name จากนั้นคลิก Next


    1.2.2 ตรง Location และ Comment นั้น คุณ จะใส่หรือไม่ใส่ก็ได้ แต่ผมแนะนำให้ใส่ เกิดคุณมีเครื่อง Printer หลายตัว การตั้งชื่อและการ บอก Location จะทำให้คุณจดจำมันได้ง่าย
    1.2.3 ในหน้าถัดมา มันจะเป็น หน้าทดสอบ การ Print เช่น กันจะทดสอบหรือไม่ก็ได้ 
    ถ้าต้องการ ทดสอบ ให้ คลิกที่ Yes
    ถ้าไม่ต้องการทดสอบให้คลิกที่ No
    แต่แนะนำให้คลิกที่ Yes เพื่อทำหารทดสอบ เราจะได้รู้ว่า เครื่อง printer สามารถทำงานได้จริงหรือไม่ จากนั้นคลิก Next
    1.2.4 เสร็จแล้วละครับ ให้เรา คลิ๊กที่ Finish ได้เลย

    1.2.5 ให้เราเข้าไปดูใน Printer and Faxes อีกครั้ง โดยไปที่ Start >>> Setting >>> Printer and Faxes จะเห็นว่าเครื่อง Printer ที่เราเพิ่งได้ทำการติดตั้งไป มีลักษณะของการ Share แล้ว (เป็นรูปมือ)
    จบในส่วนที่ 1 ซึ่งเป็นส่วนของ Server เครื่อง Printer แล้วครับ

    ส่วนที่ 2 เครื่องลูกหรือเครื่อง Client

    2.1 การ Add Printer
    ทำได้ง่ายมากคับ ให้คุณไปที่ Start >>>>Run>>>>
    2.2
    พิมพ์ข้อความ ดังนี้ \\ชื่อเครื่องคอมพิวเตอร์หรือip ของเครื่องที่เปิด Share print(เครื่อง Server ) เลือกเอาอย่างใดอย่างหนึ่งนะครับ
    สมมุติว่าผมตั้งชื่อเครื่อง computer ที่เปิด Share Printer ชื่อว่า server01 มี Ip 192.168.0.1
    ผมก็จะพิมพ์ข้อความลงไปดังนี้

    \\server01
    หรือ
    \\192.168.0.1
    2.3 จากนั้นเราจะเข้าสู่หน้าต่างของเครื่อง Server01 นะครับ
    เราจะมองเห็นเครื่อง Printer ที่เครื่อง Server01 ทำการเปิด Share ไว้นะครับ (ที่เราติดตั้งไปในส่วนที่ 1)

    2.4 ให้ไปคลิ๊กขวาที่เครื่อง Printer นะครับ จากนั้นเลือก Connect นะครับ และรอซักครู่นะครับ

    2.5 ให้เราตรวจสอบอีกครั้งว่าเรา connect printer สำเร็จหรือไม่นะครับ
    ไปที่ Start >>> Setting >>>Printer and Faxes เพื่อดูเครื่อง Printer ที่เรา Connect เข้ามา
    2.6 ถ้าเห็นว่ามีชื่อเครื่อง Print ที่เราได้ Connect มาเมื่อกี้ก็แสดงว่าเราทำสำเร็จ !!!!
    +++ดีใจด้วยนะครับ+++
    2.7 ให้เราลอง Print เอกสารนะครับ
    เปิดโปรแกรม Word หรือ อะไรก็ได้ที่ มันสามารถสั่ง Print ได้ ลองสั่ง print นะครับ ในกรณีที่คุณใช้โปรแกรม word ให้คุณไปที่ File>> Print >>> เราจะเห็นช่องแรกนะครับ คือช่อง Name ให้เราเลือกเป็นชื่อเครื่อง Printer ที่เราจะทำการสั่ง Print แล้วคลิ๊ก OK ครับ
     
    รอกระดาษออก มา
    เป็นอันจบสิ้นบท ความของ ผม
    ใครมีปัญหาใดๆเกี่ยวกับ บท ความนี้ เข้ามาถามในกระกู้นี้นะครับ ผมจะเข้ามาดูเรื่อยๆ  ครั้งหน้าเราจะมาลองดูวิธีการ Share File หรือการใช้งาน ไฟล์ ร่วมกัน

    วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

    อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์

    อุปกรณ์ต่อพ่วงคอมพิวเตอร์

    1. เครื่องพิมพ์ชนิดต่าง ๆ (Printer)
                   เครื่องพิมพ์ เป็นอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อเข้ากับคอมพิวเตอร์เพื่อทำหน้าที่ในการแปลผลลัพธ์ที่ได้จาก การประมวลผลของเครื่องคอมพิวเตอร ์ให้อยู่ในรูปของอักขระหรือรูปภาพที่จะไปปรากฏอยู่บนกระดาษ นับเป็นอุปกรณ์แสดลงผลที่นิยมใช้ เครื่องพิมพ์แบ่งออกเป็น 4 ประเภท 
      1. เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer)
                      เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์เป็นเครื่องพิมพ์ที่นนิยมใช้งานกันแพร่หลายมากที่สุด เนื่องจากราคา และคุณภาพการพิมพ์อยู่ในระดับที่เหมาะสม การทำงานของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ใช้หลักการสร้างจุด ลงบน กระดาษโดยตรง หัวพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ มีลักษณะเป็นหัวเข็ม (pin) เมื่อต้องการพิมพ์สิ่งใดลงบนกระดาษ หัวเข็มที่อยู่ในตำแหน่งที่ประกอบกันเป็น ข้อมูลดังกล่าวจะยื่นลำหน้าหัวเข็มอื่น เพื่อไปกระแทกผ่านผ้าหมึก ลงบนกระดาษ ก็จะทำให้เกิดจุดขึ้น การพิมพ์แบบนี้จะมีเสียงดัง พอสมควร ความคมชัดของข้อมูลบน กระดาษขึ้นอยู่กับจำนวนจุด ถ้าจำนวนจุดยิ่งมากข้อมูลที่พิมพ์ลงบนกระดาษก็ยิ่งคมชัดมากขึ้น ความเร็ว ของเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์อยู่ระหว่าง 200 ถึง 300 ตัวอักษรต่อวินาที หรือประมาณ 1 ถึง 3 หน้าต่อนาที เครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เหมาะสำหรับงานที่พิมพ์แบบฟอร์มที่ต้องการซ้อนแผ่นก๊อปปี้ หลาย ๆ ชั้น เครื่องพิมพ์ชนิดนี้ ใช้กระดาษต่อเนื่องในการพิมพ์ ซึ่งกระดษาประเภทนี้จะมีรูข้างกระดาษทั้งสองเอาให้ หนามเตยของเครื่องพิมพ์เลื่อนกระดาษ 
      2. เครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer)
                      เครื่องพิมพ์พ่นหมึก เป็นเครื่องพิมพ์ที่มีคุณภาพการพิมพ์ที่ดีกว่าเครื่องพิมพ์แบบดอตแมทริกซ์ โดยสามารถพิมพ์ตัวอักษรที่มีรูปแบบ และขนาดที่แตกต่งกันมาก ๆ รวมไปถึง พิมพ์งานกราฟิกที่ให้ผลลัพธ์ คมชัดว่าเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์ เทคโนโลยีที่เครื่องพิมพ์พ่นหมึก ใช้ในการพิมพ์ก็คือ การพ่นหมึกหยดเล็ก ๆ ไปที่กระดาษ หยดหมึกจะมีขนาดเล็กมาก แต่ละจุดจะอยู่ในตำแหน่งที่เมื่อประกอบกันแล้ว เป็นตัวอักษร หรือรูปภาพ ตามความต้องการ เครื่องพิมพ์พ่นหมึกมีความเร็วในการพิมพ์ มากว่าแบบดอตแมทริกซ์ มีหน่วยวัดความเร็วเป็นในการ พิมพ์เป็น PPM (Page Per Minute) ซึ่งเร็วกว่าเครื่องพิมพ์ดอตแมทริกซ์มาก อย่างไรก็ตามถ้าเป็นการพิมพ์ กราฟิกหรือตัวอักษรที่มีรูปแบบในเวลาเดียวกัน เครื่องพิมพ์พ่นหมึกจะทำงานได้ช้าลง กระดาษที่ใช้กับเครื่อง พิมพ์พ่นหมึกจะเป็นขนาด 8.5 X 11 นิ้ว หรือ A4 ซึ่งสามารถพิมพ์ได้ ทั้งแนวตั้งที่เรียกว่า "พอร์ทเทรต" (Portrait) และแนวนอนที่เรียกว่า "แลนด์สเคป" (Landscape) โดยกระดาษจะถูกวางเรียงซ้อนกัน อยู่ในถาด และถูกป้อน เข้าไปในเครื่องพิมพ์ที่ละแผ่นเหมือนเครื่องถ่ายเอกสาร 
      3. เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer)
                      เครื่องพิมพ์เลเซอร์ เป็นเครื่องที่มีคุณสมบัติเหมือนกับเครื่องพิมพ์แบบพ่นหมึก แต่สามารถทำงาน ได้เร็วกว่า โดยเครื่องพิพม์เลเซอร์ สามารถพิมพ์ตัวอักษรได้ทุกรูปแบบและทุกขนาดรวมทั้งสามารถพิมพ์งาน กราฟิกที่คมชัดได้ด้วย เครื่องเลเซอร์ใช้เทคโนโลยี เดียวกับเครื่องถ่ายเอกสาร คือยิงเลเซอร์ไปสร้างภาพบน กระดาษในการสร้างรูปภาพ หรือตัวอักษรบนกระดาษ 
                      หน่วยวัดความเร็วของเครื่องพิมพ์เลเซอร์จะเป็น PPM เช่นเดียวกับ เครื่องพิมพ์พ่นหมึกในปัจจุบัน ความสามารถ ในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์เลเซอร์คุณภาพสูง สามารถพิมพ์ได้หลายร้อยหน้าต่อนาที ซึ่งเหมาะ กับงานในองค์กรขนาดใหญ่ จะนำไปใช้งานในการพิมพ์เอกสารต่าง ๆ ส่วนคุณภาพงานพิมพ์ของเครื่องจะวัด ด้วยความละเอียดในการสร้างจุดลงในกระดาษ ขนาด 1 ตารางนิ้ว เช่นความละเอียดที่  300 dpi หรือ 600 dpi หรือ 1200 dpi เครื่องพิมพ์เลเซอร์ที่นิยมใช้ในปัจจุบัน ก็จะมีทั้งเครื่องพิมพ์เลเซอร์แบบ ขวา-ดำ และเครื่องพิมพ์ เลเซอร์แบบสี ซึ่งเครื่องพิมพ์เลเซอร์แบบสีจะมีราคาแพงมาก แต่งานพิมพ์ที่ได้ออกมาก็มีคุณภาพสูง 



    4. พล็อตเตอร์ (plotter) 
                      พล็อตเตอร์ เป็นเครื่องพิมพ์ชนิดที่ใช้ปากกาในการเขียนข้อมูลต่างๆ ลงบนกระดาษเหมาะสำหรับงาน เกี่ยวกับการเขียนแบบทางวิศวกรรม (เขียนลงบนกระดาษไข) และงานตกแต่งภายใน สำหรับวิศวกรรมและสถาปนิก 
                      พล็อตเตอร์ทำงานโดยใช้วิธีเลื่อนกระดาษ โดยสามารถใช้ปากกาได้ 6-8 สี ความเร็วในการทำงานของ พล็อตเตอร์มีหน่วยวัดเป็นนิ้วต่อวินาที (Inches Per Secon : IPS) ซึ่งหมายถึงจำนวนนิ้วที่พล็อตเตอร์สามารถ เลื่อนปากกาไปบนกระดาษ 
    2. เครื่องสแกนภาพ (Scanner)
                      สแกนเนอร์ (Scanner) คืออุปกรณ์ซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของ อนาล็อกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษาและผลิต ออกมาได้ ภาพนั่นอาจจะเป็น รูปถ่าย ข้อความ    ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุสามมิติ สามารถใช้สแกนเนอร์ทำงานต่างๆ  ได้ดังนี้ 
      • ในงานเกี่ยวกับงานศิลปะหรือภาพถ่ายในเอกสาร
      • บันทึกข้อมูลลงในเวิร์ดโปรเซสเซอร์  
      • แฟ็กเอกสาร ภายใต้ดาต้าเบส และ เวิร์ดโปรเซสเซอร์  
      • เพิ่มเติมภาพและจินตนาการต่าง ๆ ลงในในผลิตภัณฑ์สื่อโฆษณาต่าง ๆ โดยพื้นฐานการทำงานของสแกนเนอร์
         ชนิดของสแกนเนอร์ และความ สามารถในการทำงาน ของสแกนเนอร์แบ่งออกได้ดังต่อไปนี้     
                    1. Flatbed scanners ซึ่งใช้สแกนภาพถ่ายหรือภาพพิมพ์ต่าง ๆ สแกนเนอร์ชนิดนี้มีพื้นผิวแก้วบนโลหะที่เป็นตัวสแกน เช่น ScanMader III 
                     2. Transparency and slide scanners ScanMaker ซึ่งถูกใช้ สแกนโลหะโปร่ง เช่นฟิล์มและสไลด์ ตัวอย่างของสแกนเนอร์ชนิดนี้ เช่น ScanMaker 35t ที่ใช้สแกนเนอร์ 35 mm และ ScanMake 45t ใช้สแกนเนอร์ ฟิล์มขนาด 8"x10"การทำงานของสแกนเนอร์ การจับภาพ ของสแกนเนอร์ ทำโดย ฉายแสงบนเอกสารที่จะสแกน แสงจะผ่านกลับไปมาและภาพจะถูกจับโดยเซลล์ ที่ไว ต่อแสง เรียกว่า Charge-couple device หรือ CCD ซึ่งโดยปกติพื้นที่มืดบน กระดาษจะสะท้อนแสง ได้น้อยและพื้นที่ที่สว่างบนกระดาษจะสะท้อนแสง ได้มาก กว่า CCD จะสืบหาปริมาณแสงที่สะท้อนกลับจากแต่ละพื้นที่ของภาพนั้น และ เปลี่ยนคลื่นของแสง ที่สะท้อนกลับมาเป็นข้อมูลดิจิตอลหลังจากนั้นซอฟต์แวร์ ที่ใช้สำหรับการสแกนภาพก็จะแปลงสัญญาณเหล่านั่นกลับมาเป็นภาพบนคอมพิวเตอร์อีกทีหนึ่ง  
        สิ่งที่จำเป็นสำหรับการสแกนภาพ  มีดังนี้
      • SCSI และสาย SCSI หรือ Parallel Port สำหรับต่อจากสแกนเนอร์ ไปยังเครื่องคอมพิวเตอร์  
      • ซอฟต์แวร์สำหรับการสแกนภาพซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของสแกนเนอร์ให้สแกนภาพตามที่กำหนด  
      • สแกนเอกสารเก็บไว้เป็นไฟล์ที่นำมาแก้ไขได้อาจต้องมีซอฟแวร์ที่สนับ สนุนด้าน OCR
      • จอภาพที่เหมาะสมสำหรับการแสดงภาพที่สแกนมาจากสแกนเนอร์  
      • เครื่องมือสำหรับแสดงพิมพ์ภาพที่สแกน เช่น เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ หรือสไลด์โปรเจคเตอร์
         ประเภทของภาพที่เกิดจากการสแกน แบ่งเป็นประเภทดังนี้
                     -  ภาพ Single Bit   เป็นภาพที่มีความพยาบมากที่สุดใช้พื้นทีในการเก็บข้อมูลน้อยที่สุด และนำมาใช้ประโยชน์อะไรไม่ค่อยได้ แต่ข้อดีของภาพประเภทนี้คือ ใช้ทรัพยากร จองเครื่องน้อยที่สุดใช้พื้นที ในการเก็บข้อมูลน้อยที่สุด ใช้ระยะเวลาในการสแกน ภาพน้อยที่สุด Single Bit แบ่งออกได้สองประเภทคือ - Line Art ได้แก่ภาพที่มีประกอบเป็นภาพขาวดำตัวอย่างของภาพ พวกนี้ได้แก่ ภาพจากการสเก็ต  Halfone ภาพพวกนี้จะให้เป็นสีโทนสีเทามากกว่า แต่โดยทั่วไปยังถูกจัดว่าเป็นภาพประเภท Single Bit เนื่องจากเป็นภาพหยาบ ๆ 
                     -  ภาพ Gray Scale ภาพพวกนี้จะมีส่วนประกอบมากกว่าภาพขาวดำ โดยจะประกอบด้วยเฉด สีเทาเป็นลำดับขั้น ทำให้เห็นรายละเอียดด้านแสง-เงา ความชัดลึก มากขึ้นกว่าเดิม ภาพพวกนี้แต่ละพิกเซลหรือแต่ละจุดของภาพอาจประกอบ ด้วยจำนวนบิตมากกว่า ต้องการพื้นที่เก็บข้อมูลมากขึ้น 
                    -   ภาพสี หนึ่งพิกเซลของภาพสีนั้นประกอบด้วย จำนวนบิตมหาศาล และใช้พื้นที่เก็บข้อมูลมากความ สามารถ ในการสแกนภาพออกมาได้ละเอียดขนาด ไหนนั้น ขึ้นอยู่กับสแกนเนอร์มีขนาดความละเอียด เท่าไร 




    . โมเด็ม (Modem)
                   เป็นอุปกรณ์สำหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภาย นอกได้อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สำหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบ คอมพิวเตอร์ของเราสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถ ทำงานของเราสามารสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทำงาน ของคุณให้สำเร็จได้ก็ด้วย การเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคุ่สายของ โทรศัพท์ธรรมดาคู่หนึ่งซึ่งโมเด็ม จะทำการแปลงสัญญาณ ดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณ อนาล๊อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์ 
                   คำว่า โมเด็ม (Modem) มาจากคำว่า (modulate/demodulate) ผสมกัน  หมายถึง กระบวนการแปลงข้อมูลข่าวสารดิจิตอลให้อยู่ในรูปของอนาล๊อกแล้วจึง สัญญาณกลับไปเป็นดิจิตอลอีกครั้งหนึ่งเมื่อโมเด็มของเราต่อเข้ากับโมเด็มตัวอื่น 
                   ความสามารถของโมเด็ม    เราสามารถใช้โมเด็มทำอะไรต่าง ๆ ได้หลายอย่าง เช่น 
      • ใช้บริการต่างๆ จากที่บ้าน เช่นสั่งซื้อของผ่านอินเตอร์เน็ต  
      • ท่องไปบนอินเตอร์เน็ต  
      • เข้าถึงบริการออนไลน์ได้  
      • ดาวน์โหลดข้อมูล , รูปภาพและโปรแกรมแชร์แวร์ได้  
      • ส่ง - รับโทรสาร  
      • ตอบรับโทรศัพท์
                     ความแตกต่างของโมเด็ม
                     1. ความเร็วในการรับ - ส่งสัญญาณ  ความเร็วในการรับ-ส่งสัญญาณ หมายถึง อัตรา (rate) ที่โมเด็ม สามารถทำการแลกเปลี่ยนข้อมูลกับโมเด็ม อื่นๆ มีหน่วยเป็นบิต /วินาที (bps) หรือ กิโลบิต/ วินาที (kbps)    ในการบอกถึง ความเร็วขอโมเด็มเพื่อให้ง่ายในการ พูดและจดจำ
                     2. ความสามารถในการบีบอัดข้อมูล   ข้อมูลข่าวสารที่ส่งออกไปบนโมเด็มนั้น สามารทำให้มีขนาดกะทัดรัด ด้วย วิธีการบีบอัดข้อมูล (compression) ทำให้สามารถส่งข้อมูลได้ครั้งละเป็นจำนวน มากๆ
                     3. ความสามารถในการใช้เป็นโทรสาร โมเด็มรุ่นใหม่ ๆ สามารถส่งและรับโทรสาร(Fax  capabilities) ได้ดีเช่น เดียวกับ การรับ ส่งข้อมูล หากคุณมีซอฟแวร์ที่เหมาะสมแล้วคุณสามารถใช้ แฟคซ์ โมเด็มเป็นเครื่องพิมพ์ (printer) ได้เมื่อเราพิมพ์เข้าไปที่แฟคซ์โมเด็มมันจะส่งเอกสาร ของเราไปยังเครื่องโทรสารที่ปลายทางได้
                    4. ความสามารถในการควบคุมความผิดพลาด โมเด็มจะใช้วิธีการควบคุมความผิดพลาด (error control) ต่าง ๆ มากมาย หลายวิธีในการตรวจสอบเพื่อการยืนยันว่า จะไม่ข้อมูลใด ๆสูญหายไประหว่างการส่ง ถ่ายข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ เครื่องหนึ่งไปยังอีกเครื่องหนึ่ง
                    5. ออกแบบให้ใช้ได้ทั้งภายในและภายนอก โมเด็มที่จำหน่ายในท้องตลาดทั่ว ๆ ไปจะมี 2 รูปแบบ คือ โมเด็มแบบติด ตั้งภายนอก (external modems) และแบบติดตั้งภายใน (internal modems)
                    6.ใช้เป็นโทรศัพท์ได้ โมเด็มบางรุ่นมีการใส่วงจรโทรศัพท์ธรรมดาเข้าไปพร้อมกับความสามารถ ในการรับ/ ส่งข้อมูลและโทรสารด้วย